วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 3)

จาก 2 บทความที่แล้ว เราพูดถึง ว่ารูปแบบของการจดทะเบียนมีอะไรบ้าง และรูปแบบการวางแผนภาษี ในรูปแบบของบุคคลธรรมดา
สำหรับท่านที่สนใจ ตามได้จาก 2 link
จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1) และ
จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

มาถึงตรงนี้แล้ว ผมเดาว่า บุคคลธรรมดา คงจะไม่ใช่ทางออกสำหรับท่านผู้อ่านซักเท่าไหร่นัก
เรามาต่อกันเลย สำหรับการจดทะเบียน และการวางแผนภาษีเบื้องต้น ในรูปแบบนิติบุคคลบ้างนะครับ

*ตรงนี้ผมจะขอพูดถึงเฉพาะ นิติบุคคลในรูปแบบของ ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ บริษัทจำกัดเท่านั้นนะครับ เพราะห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มีข้อแตกต่างจากห้างหุ้นส่วนจำกัดอยู่เรื่องเดียว คือ จำนวนหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดชอบ นอกนั้นแทบไม่แตกต่างกันเลย หรือจะเรียกว่าไม่แตกต่างก็คงจะได้ครับ*

คำถามที่ผมเจอค่อนข้างบ่อย เรียกได้ว่าเป็นคำถามสุดฮิตเลยก็ว่าได้ คือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือ บริษัทจำกัด แตกต่างกันอย่างไร เราควรจะจดเแบบไหนดี อันไหนเสียภาษีน้อยกว่า

เราเริ่มแตกทีละประเด็นนะครับ
  • ความแตกต่างระหว่างการจดทะเบียนเป็นห้างหุ้นส่วนจำกัด กับบริษัทจำกัด
  • รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด
    - ผู้ถือหุ้น 2 คนขึ้นไป - ผู้ถือหุ้น 3 คนขึ้นไป
    - ค่าธรรมเนียมในการจดถูกกว่า - ค่าธรรมเนียมในการจดแพงกว่า
    - ความรับผิด แบ่งหุ้นส่วนเป็น 2 ประเภท ( ต้องมีทั้ง 2 ประเภท )
    1. หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด - รับผิดชอบไม่จำกัดจำนวน โดยไม่สนใจหุ้นที่ตัวเองถือหุ้น
    2. หุ้นส่วนจำกัดความรับผิด - รับผิดชอบไม่เกินจำนวนหุ้นที่ตัวเองถืออยู่ เช่น ถือหุ้น อยู่ 10% ของ 1 ล้านบาท ก็จะรับผิดชอบแค่ 1 แสนบาท
    - ความรับผิด รับผิดชอบไม่เกินจำนวนมูลค่าหุ้นที่ตัวเองถือ เช่น ถือหุ้นอยู่ 10% ของ 1 ล้านบาท ก็จะรับผิดชอบแค่ 1 แสนบาท
    - อัตราภาษี เท่ากับบริษัทจำกัด - อัตราภาษี เท่ากับห้างหุ้นส่วนจำกัด
    - ใช้ TAเป็นผู้สอบบัญชีได้ - ใช้ CPA เป็นผู้สอบบัญชีเท่านั้น
    - ค่าสอบบัญชี ขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของผู้สอบบัญชี - ค่าสอบบัญชี ขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของผู้สอบบัญชี

















    สรุปกันสั้น ๆ ให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ
    - จำนวนผู้ถือหุ้น [ห้างหุ้นส่วนจำกัดใช้ 2 คนขึ้นไป บริษัทจำกัดใช้ 3 คนขึ้นไป]
      ในอนาคต เห็นว่า ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังจะแก้กฎหมายให้ มีผู้ถือหุ้นคนเดียว ก็จัดตั้งนิติบุคคลได้นะครับ
    - ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียน
    - ความรับผิดของผู้ถือหุ้น ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องมีหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด [รับผิดในหนี้ไม่จำกัดจำนวน] บริษัทจำกัดไม่ต้องมี
    - อัตราภาษี ใช้อัตราภาษีของนิติบุคคล เพราะฉะนั้น ไม่แตกต่างกัน
    - ความน่าเชื่อถือ ในมุมมองของคนส่วนใหญ่ บริษัทจำกัด มีความน่าเชื่อถือ กว่าห้างหุ้นส่วนจำกัด
    เมื่อเราเห็นความแตกต่างกันแล้ว ก็ลองวิเคราะห์กันดูนะครับ ว่าจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบไหนดี

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com

    วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

    จากบทความที่แล้ว
    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1)
    ผมได้แนะนำรูปแบบของการประกอบธุรกิจ ว่ามันมีกี่รูปแบบ เมื่อไหร่ที่ต้องจด

    ก็จะเข้าสู่ ที่ผมเจอคำถามค่อนข้างบ่อยมาก ถึงมากที่สุด คือ แล้วเราควรจะจดทะเบียนรูปแบบไหนดี ที่จะทำให้เราประหยัดภาษีมากที่สุด

    เมื่อเจอคำถามนี้ โดยส่วนใหญ่ ผมจะถามกลับไปทุกราย
    "รายได้ และค่าใช้จ่าย ของธุรกิจคุณ คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณเท่าไหร่"
    สิ่งที่ผมถาม เป็นสิ่ง เบื้องต้นในการวางแผนในการดำเนินธุรกิจ รวมไปถึงการวางแผนภาษีด้วย

    ทีนี้สำหรับคนที่เริ่มประกอบธุรกิจ ยังไม่ทราบถึงรายได้ และค่าใช้จ่ายที่แน่ชัด จะทำอย่างไรดี แต่อยากจะทำให้ถูกต้องตั้งแต่แรกเลย
    • จดทะเบียนพาณิชย์ ในรูปแบบของร้านค้า (บุคคลธรรมดา) สำหรับกิจการที่มียอดขายตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป
    • ลองทำบัญชีรับ - จ่ายของกิจการตัวเองดูครับ ซัก 3 - 6 เดือน
      ผมว่า เราน่าจะเห็นแนวโน้มแล้ว เราค่อยมาตัดสินใจเลือก ว่าเราจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล (บอกตรง ๆ ว่าตัวผมเอง ก็เริ่มจากแบบนี้เหมือนกัน ก็ผมเป็นบัญชี นี่เนอะ 555+)
    งั้นเราลองมาดู ตัวอย่างกันซักนิดนะครับ
    สมมติ ว่า กิจการประกอบธุรกิจขายสินค้า ทางอินเทอร์เน็ต มีรายได้ในปี 2560 ประมาณ 3 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายตามจริงในปี 2560 2.1 ล้านบาท กำลังตัดสินใจว่าจะเลือกใช้จดทะเบียนแบบไหน และวิธีไหน ถึงจะประหยัดภาษีมากที่สุด
    รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    บุคคลธรรมดา (เหมา) บุคคลธรรมดา (หักตามจริง) นิติบุคคล (หักตามจริง)
    - รายได้ 3,000,000 3,000,000 3,000,000
    - ค่าใช้จ่าย (เหมาได้ 60%) 1,800,000 2,100,000 2,100,000
    - กำไรขั้นต้น 1,200,000 900,000 900,000
    - หัก ค่าใช้จ่ายส่วนตัว 60,000 60,000 -
    - หัก ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชี (ประมาณ) - 36,000 36,000
    - กำไรสุทธิ ที่นำไปคำนวณภาษี 1,140,000 804,000 864,000
    - คำนวณภาษี ตามวิธีที่ 1 150,000 75,800 84,600
    - คำนวณภาษี ตามวิธีที่ 2 15,000 15,000 -
    - ภาษีที่ต้องชำระ 150,000 75,800 84,600
    - ภาษีที่ต้องชำระ + ค่าใช้จ่ายทางบัญชี 150,000 111,800 120,600

    จากตาราง จะเห็นได้ว่า
    • การจดทะเบียนรูปแบบ บุคคลธรรมดา (หักค่าใช้จ่ายตามจริง) จะเป็นทางออกในการประหยัดภาษีให้คุณครับ เพราะจากโจทย์ตัวอย่าง ผมสมมติด้วยว่า ว่าคุณมีการจ้างสำนักงานบัญชี เพื่อทำบัญชีให้ด้วยนะครับ คุณก็ยังสามารถประหยัดเงินในกระเป๋าของคุณไปได้ถึง 38,200.- บาท

      แต่หากคุณมองว่า คุณอยากจะลดความซับซ้อนในการดำเนินธุรกิจ เพราะคุณทำคนเดียว ขายคนเดียว การเลือก รูปแบบของบุคคลธรรมดา (หักค่าใช้จ่ายด้วยวิธีเหมาจ่าย) ก็จะเป็นทางออกอีกทางหนึ่งครับ
    ดังนั้น "การวางแผนภาษี หากเราประมาณการณ์ รายได้ หรือค่าใช้จ่าย ได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากเท่าใด เราก็จะวางแผนได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากขึ้นตามไปด้วยครับ"

    หมายเหตุ : การคำนวณภาษีในโจทย์ตัวอย่าง เป็นการสมมติฐานทางตัวเลขเท่านั้น สำหรับภาษีบุคคลธรรมดา มันยังมีอีกหลาย ๆ ตัวแปร ที่สรรพากรยอมรับให้หัก เป็นค่าลดหย่อนได้ เช่น
    • ลดหย่อนบุตร
    • ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย
    • ประกันชีวิต
    • เงินลงทุน ใน RMF LTF
    แล้วถ้าเลือก ทำในรูปแบบของบุคคลธรรมดา เราต้องทำอะไรเพิ่ม แล้วควรจะจ้างสำนักงานบัญชีไหม สิ่งที่คุณต้องทำ ถ้าเลือกจดทะเบียน และทำบัญชีให้ถูกต้อง คือ
    • จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เพราะจากโจทย์ตัวอย่าง คุณมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี และต้องทำรายงานภาษีซื้อ - ภาษีขาย นำส่งภ.พ.30 ทุกวันที่ 15 ของเดือนถัดไป และยังต้องทำรายงานสินค้าคงเหลือด้วย
    • จัดทำบัญชีรับ - จ่าย ให้เป็นไปตามหลักการที่สรรพากรยอมรับ เช่น การหักค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน การขอใบกำกับภาษีในนามร้านค้า
    • ต้องยื่นภ.ง.ด. 94 ภายในวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี
    • ต้องยื่นภ.ง.ด. 90 ภายในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี
    ถ้าคุณสามารถทำสิ่งเหล่านี้เองได้ ก็ไม่ต้องใช้บริการสำนักงานบัญชีหรอกครับ แต่ถ้าไม่ได้ หรือกลัวความผิดพลาด ผมก็แนะนำว่าคุณควรจะใช้บริการของสำนักงานบัญชี ให้เค้าดูแลคุณนะครับ

    จุดที่ต้องระวัง สำหรับร้านค้า ที่เป็นรูปแบบของบุคคลธรรมดา และเจอค่อนข้างบ่อย คือ
    • มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท แต่ไม่ได้จดทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
      (จดทะเบียนกับสรรพากร นับจากวันที่มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท ประมาณ 30 วัน)
    • อัตราภาษีของบุคคลธรรมดา สูงสุดที่ 35% หากวางแผนไม่ดี อาจจะเสียภาษีมากกว่านิติบุคคล โดยไม่รู้ตัว
    • มีการคำนวณภาษี 2 วิธี ซึ่งต้องคำนวณทั้ง 2 วีธี แล้วเปรียบเทียบว่า แบบไหนมากกว่า ให้เสียตามนั้น ดังนั้น ก็อาจจะยังต้องจ่ายภาษีอยู่ดี
    แล้วถ้าเราตัดสินใจว่า จะจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล เพราะกิจการของเราขยายตัวค่อนข้างแน่ และรายได้ ของเราจะไม่หยุดแค่เท่านี้ เราต้องรู้อะไรบ้าง
    เดี๋ยวมาต่อในภาค 3 ให้นะครับ

    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 3)

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com


    วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1)

    สวัสดีครับ บทความวันนี้ ผมได้มาจากหลาย ๆ ท่าน ที่สอบถามผมมาในหลาย ๆ ช่องทาง ไม่ว่าจะ Email เข้ามาสอบถามก็ดี หรือโทรเข้ามาสอบถามก็ดี เป็นคำถามที่ผมพบค่อนข้างบ่อยครับ เลยถือโอกาสเขียนเป็นบทความขึ้นมา เพื่อเป็นการตอบคำถามไปในตัวเลยละกัน

    เป็นปัญหาโลกแตกนะครับ ถ้าเราจะทำธุรกิจ เราควรจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบไหนดี ? รูปแบบไหนจะประหยัดภาษีมากกว่ากัน ? จำเป็นต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเลยไหม ? ขึ้นทะเบียนประกันสังคมได้ไหม ? แล้วเราควรจะตัดสินใจอย่างไรดี ?
    "บางครั้งจำเป็นต้องจดเพราะลูกค้าที่ไปคุยไว้ อยากได้ใบกำกับภาษีจากเรา"

    ก่อนอื่นเลยเรามาทำความเข้าใจกันก่อนเลยว่า การจดทะเบียนเพื่อประกอบธุรกิจนั้น นั้นจะมีรูปแบบต่าง ๆ  ดังนี้
    รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    รูปแบบของธุรกิจ ต้องมีผู้ถือหุ้น เสียภาษีในอัตราของ หักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา หักค่าใช้จ่ายตามจริง จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ขึ้นทะเบียนประกันสังคม
    - ร้านค้า 1 คน บุคคลธรรมดา ได้ ได้ ได้ ได้
    - ห้างหุ้นส่วนสามัญ 2 คนขึ้นไป บุคคลธรรมดา ได้ ได้ ได้ ได้
    - ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 2 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้
    - ห้างหุ้นส่วนจำกัด 2 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้
    - บริษัทจำกัด 3 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้

    - ในตารางนี้ จะไม่พูดถึง บริษัทมหาชน กิจการร่วมค้า และกิจการไม่แสวงหาผลกำไรนะครับ

    ซึ่งหากดูจากรูปแบบของธุรกิจแล้วจะพบว่า ทุก ๆ รูปแบบของธุรกิจ สิ่งที่แตกต่างกัน คือ
    • จำนวนผู้ถือหุ้น หรือคนลงทุน
    • เสียภาษี ในรูปแบบที่ต่างกัน "บุคคลธรรมดา" กับ "นิติบุคคล"
    • รูปแบบการหักค่าใช้จ่าย "หักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา" กับ "หักค่าใช้จ่ายตามจริงและสมควร"
    • แต่ที่ไม่ต่างกันเลย คือ การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และการขึ้นทะเบียนประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไหน สามารถจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และขึ้นทะเบียนประกันสังคมได้นะครับ
    ทีนี้เรามาแตกทีละประเด็นนะครับ
    • เราจำเป็นต้องจดทะเบียน เมื่อไหร่ ?
      จริง ๆ การจดทะเบียน ตามกฎหมาย เค้าระบุไว้ชัดเจนนะครับ ว่าเมื่อคุณมียอดขายตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป ก็ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ (ตามพรบ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499) ซึ่งรูปแบบของการจดทะเบียนพาณิชย์ ก็ตามตารางที่ผมให้ไว้เลยครับ
    • เราจำเป็นต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อไหร่ ?
      ตามกฎหมายระบุไว้ว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่กิจการมียอดขาย หรือบริการเกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ก็ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มครับ แต่ถ้ารายได้ยังไม่ถึง แต่ต้องการจะจด ก็สามารถทำได้ครับ แต่เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว จะต้องยื่นแบบภ.พ.30 ทุกเดือน และจะต้องทำรายงานสินค้าคงเหลือด้วยนะครับ (อันนี้แหละครับ เป็นหนึ่งในจุดตัดสินใจ ว่าเราจะเลือกใช้บริการจากสำนักงานบัญชี หรือไม่)
    • เราจำเป็นต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม เมื่อไหร่ ?
      ตามกฎหมายระบุไว้นะครับ ว่าหากมีการประกอบธุรกิจ แล้วมีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ก็ต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างรายชั่วโมง รายวัน หรือรายเดือน เว้นแต่บุคคลหรือกิจการที่ไม่ได้ใช้บังคับตามกฎหมายประกันสังคม
    • จดทะเบียนในรูปแบบไหนดี แบบไหนประหยัดภาษีกว่ากัน ?
      เรื่องนี้ต้องคุยกันยาว ขอต่อให้ในภาค 2 นะครับ อย่าเพิ่งเบื่อกันนะครับ
    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 
    081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com

    วันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2560

    ขายสินค้า ? หรือค่าจ้างทำของ ?

    รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    "ถามมา...ตอบไป"
     
    เรื่องราวในวันนี้ ได้มาจากประสบการณ์ของลูกค้าของทางสำนักงานบัญชีของพี่บัญชี เป็นประเด็นที่

    ลูกค้า ค่อนข้างสงสัย และสอมถามเข้ามา

    เรื่องมีอยู่ว่า....บริษัทเป็นโรงงานที่ผลิตกล่องมาตรฐาน เพื่อจำหน่ายให้แก่ลูกค้าทั่วไป ได้ถูกว่าจ้างให้ผลิตสินค้า ตามแบบพิเศษที่ลูกค้าต้องการ โดยวัตถุดิบที่ใช้ผลิต เป็นของบริษัทฯ แต่เวลาที่ออกใบกำกับภาษี บริษัทฯ จะแยกรายการค่ากล่อง กับค่าแม่พิมพ์ อยู่ในใบกำกับภาษีเดียวกัน ซึ่งทางบริษัทฯ ได้บอกลูกค้าไปว่า ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายบริษัทฯ แบบที่พี่บัญชีได้เคยแนะนำ ทำไมลูกค้า บอกว่าไม่ได้ ต้องหัก ณ ทีจ่ายกับทางบริษัทฯ เพราะถือว่าเป็นการจ้างทำของ แล้วบริษัทฯ กำลังทำผิดหรือเปล่า ?
     
    พี่บัญชี รบกวนแนะนำให้ด้วยนะจ๊ะ
     
    พี่บัญชี ก็ยิ้ม แล้วตอบลูกค้าของพี่บัญชีไปว่า
     
    ประเด็นนี้มองกันง่าย ๆ แบบนี้ครับ
    1. เราได้จดทะเบียน และแจ้งไปยังสรรพากร ตอนที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม วัตถุประสงค์ของเราเป็นผลิตกล่อง เพื่อจำหน่ายให้กับลูกค้า หรือไม่ ?
    2. วัตถุดิบ ที่ใช้ในการผลิต บริษัท เป็นผู้จัดหามาเอง หรือไม่ ?
    3. กล่องที่เรารับคำสั่งผลิต หากไม่มีคำสั่งพิเศษ จากลูกค้า เป็นสินค้ามาตรฐาน ที่เราผลิตเพื่อจำหน่ายในกับลูกค้าทั่วไป หรือไม่ ?
    4. สินค้าที่เรารับคำสั่งผลิต เป็นสินค้าที่เรามุ่งหวังในการโอนกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า หรือไม่ ?
    เมื่อวิเคราะห์ ประเด็นง่าย ๆ ทั้ง 4 ข้อแล้วพบว่า ทางคุณผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ เพื่อจำหน่ายให้กับลูกค้าทั่วไปอยู่แล้ว ถึงเค้าจะไม่จ้างคุณทำ คุณก็ยังคงผลิตกล่องบรรจุภันฑ์ เพื่อขายให้กับลูกค้าทั่วไป วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตก็เป็นของบริษัทฯ เพราะฉะนั้น การรับผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน ตามคำสั่งพิเศษของลูกค้า เพื่อให้ได้รูปแบบสินค้าตามที่ลูกค้าต้องการ โดยในใบกำกับภาษี จะแยกรายการ "ค่าสินค้า" กับ "ค่าแม่พิมพ์" อยู่ในใบกำกับภาษีเดียวกัน แต่ผลสุดท้าย สินค้าก็ยังคงเป็นกล่องบรรจุภัณฑ์ เพราะฉะนั้นสินค้าเราก็ขาย แม่พิมพ์ที่เราทำมาจะไปใช้ในงานอย่างอื่นก็คงไม่ได้ ก็ต้องขายให้ลูกค้าไปอยู่ดี มันจึงมองว่าเป็นการขายสินค้า ไม่ใช่การจ้างทำของ
     
    เพราะฉะนั้น เมื่อตีความว่าเป็นการขายสินค้า จึงไม่ต้องหัก ภาษี ณ ที่จ่าย นะครับ

    พี่บัญชีใจดี แถมให้อีกนิด จริง ๆ แล้วการวางแผนภาษีหัก ณ ที่จ่าย ก็เป็นการวางแผนเพื่อประหยัดภาษีอย่างหนึ่งนะครับ เพราะสุดท้ายถ้าเรามีภาษีถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้ มากเกินกว่าภาษีที่ต้องจ่ายจริง การจะไปขอคืนภาษีส่วนนี้กับสรรพากร ก็อาจจะทำให้พี่สรรพากรเสียเวลา หรือทางเราเองก็อาจจะเสียเวลา เพราะฉะนั้นการวางแผนเรื่องภาษี หัก ณ ที่จ่าย ก็จะช่วยทำให้เราประหยัดเงินค่าภาษี ด้วยวิธีการที่ถูกต้อง ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดทั้งเวลาครับ

    ขอขอบคุณ คุณลูกค้าที่ไว้วางใจ ให้ทางสำนักงานบัญชี แก้ไขปัญหา

    ข้อมูลอ้างอิง : 
    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     
    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315

    Email    : jtac24569@gmail.com