แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ บางมด แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ บางมด แสดงบทความทั้งหมด

วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567

สิ่งที่ต้องทำหลังจาก เป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม (จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม)

หลังจากที่รายได้เราเกิน 1.8 ล้านบาท ตาม บทความก่อนหน้านี้ เรื่อง

รายได้เกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ?

เราก็ต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม ทีนี้เราก็มาดูกันต่อว่า สิ่งที่เราต้องทำหลังจากที่เราเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม มีอะไรบ้าง
1.    เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้า หรือผู้รับบริการจากเรา จากมูลค่าสินค้า หรือบริการ
       (ณ ปัจจุบันมีประกาศลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มรวมภาษีท้องถิ่นจาก 10% เหลือ 7% 
       ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม2567 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2568)
2.    ออกใบกำกับภาษี โดยในตัวใบกำกับภาษีนั้น สรรพากร ได้กำหนดรายการที่ต้องมีดังนี้
        -    ให้มีคำว่า "ใบกำกับภาษี" อยู่ในเอกสารที่เราออก
        -    ชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร และสาขา ของผู้ประกอบการจดทะเบียน ที่ออกใบกำกับภาษี
        -    ชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร และสาขา ของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
        -    หมายเลขลำดับของใบกำกับภาษี
        -    ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้า หรือของบริการ
        -    จำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คำนวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของ
              สินค้าหรือของบริการอย่างชัดเจน
        -    วัน เดือน ปี ที่ออกใบกำกับภาษี
        ถามว่าทำไมเราต้องรู้ข้อมูลพวกนี้ ทุกวันนี้ก็ใช้โปรแกรมบัญชี ในการออกใบกำกับภาษีอยู่แล้ว แต่ต้องอย่าลืมนะครับว่า เราต้องตรวจสอบใบกำกับภาษีที่เราได้มาจากการซื้อสินค้า หรือรับบริการ เช่นกัน ผมจึงคิดว่ามันก็ยังเป็นเรื่องที่เรายังจำเป็นต้องรู้อยู่ โดยปกติ
        -    ผมจะเรียกใบกำกับภาษีที่เราออกให้ลูกค้าง่าย ๆ ว่า "ใบกำกับภาษีขาย" และ
        -    ใบกำกับภาษีที่เราได้รับจากการที่บริษัทเราไปซื้อสินค้า หรือรับบริการ ว่า "ใบกำกับภาษีซื้อ"

ซึ่งรูปร่างหน้าตา ของใบกำกับภาษีจะเป็นตามตัวอย่างดังรูป

พอทราบว่าใบกำกับภาษีที่ถูกต้องควรเป็นอย่างไร เราก็ต้องทราบอีกว่าความแตกต่างของวันที่ในการออกใบกำกับภาษีก็มีความแตกต่างกันเช่นกัน เพราะมันจะแบ่งลักษณะของประเภทธุรกิจออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ
        -    ธุรกิจขายสินค้า จะออกใบกำกับภาษี ณ วันที่เราส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า โดยในใบกำกับภาษี
              เราอาจจะระบุเพิ่มเติมจากคำว่า "ใบกำกับภาษี" เป็น "ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี" ก็ได้

        -    ธุรกิจให้บริการ จะออกใบกำกับภาษี ณ วันที่เราได้รับเงินค่าบริการซึ่งในใบกำกับภาษี เราอาจจะ
             ระบุเพิ่มเติมจากคำว่า "ใบกำกับภาษี" เป็น "ใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษี" ก็ได้
3.    จัดทำรายงานตามที่กฏหมายกำหนด
        3.1    รายงานภาษีซื้อ
                 คือ การรวบรวมใบกำกับภาษีซื้อ ที่สามารถใช้สิทธิ์ได้ มาสรุปเป็นรายงาน
        3.2    รายงานภาษีขาย
                 คือ การรวบรวมใบกำกับภาษีขาย มาสรุปเป็นรายงาน
        3.3    รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
4.    ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม
       นำรายงานภาษีขาย และภาษีซื้อที่จัดทำตามข้อ 3. มาสรุปเป็นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) ซึ่ง
        -    หากรายงานภาษีขาย > รายงานภาษีซื้อ = จะต้องนำส่งเงินส่วนต่างให้สรรพากร
        -    หากรายงานภาษีขาย < รายงานภาษีซื้อ = จะถือเป็นเครดิตภาษี สามารถขอคืนเป็นเงินสด หรือนำ
             ไปหัก จากแบบภ.พ.30 ได้ในเดือนถัดไป
ตัวเครดิตภาษีจะสามารถสะสมไปได้เรื่อย ๆ จนกว่าที่เราจะใช้มันหมด แล้วจะหมดอย่างไร เครดิตภาษีจะหมดได้ ในรูปแบบนี้ครับ
        -    รายงานภาษีขาย > รายงานภาษีซื้อ + เครดิตภาษี = นำส่งเงินส่วนต่างให้สรรพากร
        -    รายงานภาษีขาย < รายงานภาษีซื้อ + เครดิตภาษี = ยังคงถือเป็นเครดิตภาษีอยู่ครับ
กำหนดการในการยื่นแบบภ.พ.30 จะแบ่งเป็น เป็น 2 ส่วน ผมสรุปให้จำง่าย ๆ แบบนี้ว่า
        -    ยื่นกระดาษ (ยื่นเอกสารที่สรรพากร) จะต้องยื่นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
        -    ยื่นผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ จะต้องยื่นภายในวันที่ 23 ของเดือนถัดไป

        เริ่มเยอะแล้วใช่ไหมครับ สำหรับสิ่งที่ต้องทำหลังจาก เป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม ยังครับ ยังไม่หมด เดี๋ยวเรามาคุยกันต่อในโอกาสต่อไป เพราะยังมีเรื่องของ
        -    ใบกำกับภาษีขาย (อย่างย่อ)
        -    ใบกำกับภาษีซื้อ (อันไหนใช้สิทธิ์ได้ / ไม่ได้)
        -    ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
        -    ประกันสังคม
        เพราะ ไม่ว่าจะจดทะเบียนในรูปแบบบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล สิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวมา ต้องทำทั้ง 2 รูปแบบของกิจการครับ เพียงแต่ว่า รูปแบบบุคคลธรรมดา อาจจะตัดทอนบางส่วนไปได้ เช่นภาษีหัก ณ ทีจ่าย ที่จะทำแค่บางส่วนเท่านั้น

รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
 

ติดต่อ คุณทศพร

Tel. : 02-408-4215
Hotline : 081-616-1315
LINE ID : jt.accounting.office
Email : jtac24569@gmail.com
FB : www.facebook.com/jtaccount/

วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2567

รายได้เกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ?

เรื่องตามหัวข้อนี้ ผมทำเป็นแบบร่างไว้นานมาก และมันก็เป็นเรื่องที่ตั้งใจจะเขียนต่อจาก เรื่องที่เคยเขียนไปเมื่อ 6 ปีที่แล้ว เรื่อง

จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 3)

มาต่อกันที่เรื่องตามหัวข้อเลยครับ
"รายได้เกิน 1.8 ล้านบาท / ปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จริงหรือ ?"
"ผมตอบให้เลยครับ ไม่จำเป็นเสมอไป ถามว่าทำไม"

เพราะมันมีรายได้ทั้งที่เกี่ยวข้อง และไม่ได้เกี่ยวข้องกับระบบภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย ดังนี้

1. รายได้ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น
    - รายได้จากการขายสินค้า หรือ ให้บริการ แบ่งเป็น
       - ในประเทศ     - เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 7%
       - ต่างประเทศ   - เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 0% (ต้องผ่านพิธีการกรมศุลขาออก)
    - รายได้จากการให้เช่าสังหาริมทรัพย์ เช่น เช่ารถ

2. รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น
    - รายได้จากการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น เช่าบ้าน / อาคาร
    - รายได้จากการขายสินค้าทางการเกษตร เช่น พืช ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ ยังไม่แปรรูป

3. รายได้ที่ไม่อยู่บังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น
    - มีการขายสินค้าต่างประเทศ แต่ไม่ได้ส่งออกจากไทย เช่น
      สั่งของจากผู้ขายสินค้าในต่างประเทศ และส่งสินค้าไปยังต่างประเทศเลยไม่ผ่านไทย 
    - มีการให้บริการในต่างประเทศ และผลของการบริการใช้ในต่างประเทศ

เพราะฉะนั้น
ถ้ามีรายได้ตามข้อ 1. เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี อย่างนี้เราต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม

แต่หาก มีรายได้ตามข้อ 2. และ 3. (ไม่มีรายได้ตามข้อ 1.) อย่างนี้เราไม่จำเป็นต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่มครับ

หรือ "ถ้ามีรายได้ตามข้อ 1. + 2. + 3. รวมกัน" ก็ต้องมาดูว่ารายได้ตามข้อ 1. เกิน 1.8 ล้านบาทไหม ถ้ารายได้ตามข้อ 1. เกิน 1.8 ล้านบาท ก็ต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่มครับ แต่ถ้าไม่เกิน ก็ยังไม่ต้องจดครับ

น่าจะมีคำถามว่า
- ถ้าขายที่ดิน หรือขายบ้าน / คอนโด จะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไหม
  - อันนี้ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มนะครับ แต่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

- ขายของออนไลน์ด้วย มีเงินเดือนด้วย อย่างนี้ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไหม 
   - ถ้ายอดขายของออนไลน์ไม่เกิน 1.8 ล้านบาท / ปี ก็ไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มครับ

ที่ยกมาอันนี้ เป็นเพียงตัวอย่าง และสรุปสั้น ๆ ให้เข้าใจง่าย ๆ นะครับ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับเรื่องประเภทรายได้ที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามข้อ 2. และรายได้ที่ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม น่าจะค้นหาบน google กันได้อยู่แล้ว ไม่น่าจะต้องกังวลเท่าไหร่ครับ

รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
 

ติดต่อ คุณทศพร
Tel.       : 02-408-4215
Hotline : 081-616-1315
Email    : jtac24569@gmail.com

รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />

วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 3)

จาก 2 บทความที่แล้ว เราพูดถึง ว่ารูปแบบของการจดทะเบียนมีอะไรบ้าง และรูปแบบการวางแผนภาษี ในรูปแบบของบุคคลธรรมดา
สำหรับท่านที่สนใจ ตามได้จาก 2 link
จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1) และ
จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

มาถึงตรงนี้แล้ว ผมเดาว่า บุคคลธรรมดา คงจะไม่ใช่ทางออกสำหรับท่านผู้อ่านซักเท่าไหร่นัก
เรามาต่อกันเลย สำหรับการจดทะเบียน และการวางแผนภาษีเบื้องต้น ในรูปแบบนิติบุคคลบ้างนะครับ

*ตรงนี้ผมจะขอพูดถึงเฉพาะ นิติบุคคลในรูปแบบของ ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ บริษัทจำกัดเท่านั้นนะครับ เพราะห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มีข้อแตกต่างจากห้างหุ้นส่วนจำกัดอยู่เรื่องเดียว คือ จำนวนหุ้นส่วนจำกัดความรับผิดชอบ นอกนั้นแทบไม่แตกต่างกันเลย หรือจะเรียกว่าไม่แตกต่างก็คงจะได้ครับ*

คำถามที่ผมเจอค่อนข้างบ่อย เรียกได้ว่าเป็นคำถามสุดฮิตเลยก็ว่าได้ คือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือ บริษัทจำกัด แตกต่างกันอย่างไร เราควรจะจดเแบบไหนดี อันไหนเสียภาษีน้อยกว่า

เราเริ่มแตกทีละประเด็นนะครับ
  • ความแตกต่างระหว่างการจดทะเบียนเป็นห้างหุ้นส่วนจำกัด กับบริษัทจำกัด
  • รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด
    - ผู้ถือหุ้น 2 คนขึ้นไป - ผู้ถือหุ้น 3 คนขึ้นไป
    - ค่าธรรมเนียมในการจดถูกกว่า - ค่าธรรมเนียมในการจดแพงกว่า
    - ความรับผิด แบ่งหุ้นส่วนเป็น 2 ประเภท ( ต้องมีทั้ง 2 ประเภท )
    1. หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด - รับผิดชอบไม่จำกัดจำนวน โดยไม่สนใจหุ้นที่ตัวเองถือหุ้น
    2. หุ้นส่วนจำกัดความรับผิด - รับผิดชอบไม่เกินจำนวนหุ้นที่ตัวเองถืออยู่ เช่น ถือหุ้น อยู่ 10% ของ 1 ล้านบาท ก็จะรับผิดชอบแค่ 1 แสนบาท
    - ความรับผิด รับผิดชอบไม่เกินจำนวนมูลค่าหุ้นที่ตัวเองถือ เช่น ถือหุ้นอยู่ 10% ของ 1 ล้านบาท ก็จะรับผิดชอบแค่ 1 แสนบาท
    - อัตราภาษี เท่ากับบริษัทจำกัด - อัตราภาษี เท่ากับห้างหุ้นส่วนจำกัด
    - ใช้ TAเป็นผู้สอบบัญชีได้ - ใช้ CPA เป็นผู้สอบบัญชีเท่านั้น
    - ค่าสอบบัญชี ขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของผู้สอบบัญชี - ค่าสอบบัญชี ขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของผู้สอบบัญชี

















    สรุปกันสั้น ๆ ให้เข้าใจง่าย ๆ ก็คือ
    - จำนวนผู้ถือหุ้น [ห้างหุ้นส่วนจำกัดใช้ 2 คนขึ้นไป บริษัทจำกัดใช้ 3 คนขึ้นไป]
      ในอนาคต เห็นว่า ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลังจะแก้กฎหมายให้ มีผู้ถือหุ้นคนเดียว ก็จัดตั้งนิติบุคคลได้นะครับ
    - ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียน
    - ความรับผิดของผู้ถือหุ้น ห้างหุ้นส่วนจำกัด ต้องมีหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด [รับผิดในหนี้ไม่จำกัดจำนวน] บริษัทจำกัดไม่ต้องมี
    - อัตราภาษี ใช้อัตราภาษีของนิติบุคคล เพราะฉะนั้น ไม่แตกต่างกัน
    - ความน่าเชื่อถือ ในมุมมองของคนส่วนใหญ่ บริษัทจำกัด มีความน่าเชื่อถือ กว่าห้างหุ้นส่วนจำกัด
    เมื่อเราเห็นความแตกต่างกันแล้ว ก็ลองวิเคราะห์กันดูนะครับ ว่าจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบไหนดี

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com

    วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 1)

    สวัสดีครับ บทความวันนี้ ผมได้มาจากหลาย ๆ ท่าน ที่สอบถามผมมาในหลาย ๆ ช่องทาง ไม่ว่าจะ Email เข้ามาสอบถามก็ดี หรือโทรเข้ามาสอบถามก็ดี เป็นคำถามที่ผมพบค่อนข้างบ่อยครับ เลยถือโอกาสเขียนเป็นบทความขึ้นมา เพื่อเป็นการตอบคำถามไปในตัวเลยละกัน

    เป็นปัญหาโลกแตกนะครับ ถ้าเราจะทำธุรกิจ เราควรจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบไหนดี ? รูปแบบไหนจะประหยัดภาษีมากกว่ากัน ? จำเป็นต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเลยไหม ? ขึ้นทะเบียนประกันสังคมได้ไหม ? แล้วเราควรจะตัดสินใจอย่างไรดี ?
    "บางครั้งจำเป็นต้องจดเพราะลูกค้าที่ไปคุยไว้ อยากได้ใบกำกับภาษีจากเรา"

    ก่อนอื่นเลยเรามาทำความเข้าใจกันก่อนเลยว่า การจดทะเบียนเพื่อประกอบธุรกิจนั้น นั้นจะมีรูปแบบต่าง ๆ  ดังนี้
    รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    รูปแบบของธุรกิจ ต้องมีผู้ถือหุ้น เสียภาษีในอัตราของ หักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา หักค่าใช้จ่ายตามจริง จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ขึ้นทะเบียนประกันสังคม
    - ร้านค้า 1 คน บุคคลธรรมดา ได้ ได้ ได้ ได้
    - ห้างหุ้นส่วนสามัญ 2 คนขึ้นไป บุคคลธรรมดา ได้ ได้ ได้ ได้
    - ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล 2 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้
    - ห้างหุ้นส่วนจำกัด 2 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้
    - บริษัทจำกัด 3 คนขึ้นไป นิติบุคคล - ได้ ได้ ได้

    - ในตารางนี้ จะไม่พูดถึง บริษัทมหาชน กิจการร่วมค้า และกิจการไม่แสวงหาผลกำไรนะครับ

    ซึ่งหากดูจากรูปแบบของธุรกิจแล้วจะพบว่า ทุก ๆ รูปแบบของธุรกิจ สิ่งที่แตกต่างกัน คือ
    • จำนวนผู้ถือหุ้น หรือคนลงทุน
    • เสียภาษี ในรูปแบบที่ต่างกัน "บุคคลธรรมดา" กับ "นิติบุคคล"
    • รูปแบบการหักค่าใช้จ่าย "หักค่าใช้จ่ายในอัตราเหมา" กับ "หักค่าใช้จ่ายตามจริงและสมควร"
    • แต่ที่ไม่ต่างกันเลย คือ การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และการขึ้นทะเบียนประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบไหน สามารถจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และขึ้นทะเบียนประกันสังคมได้นะครับ
    ทีนี้เรามาแตกทีละประเด็นนะครับ
    • เราจำเป็นต้องจดทะเบียน เมื่อไหร่ ?
      จริง ๆ การจดทะเบียน ตามกฎหมาย เค้าระบุไว้ชัดเจนนะครับ ว่าเมื่อคุณมียอดขายตั้งแต่ 20 บาทขึ้นไป ก็ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ (ตามพรบ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499) ซึ่งรูปแบบของการจดทะเบียนพาณิชย์ ก็ตามตารางที่ผมให้ไว้เลยครับ
    • เราจำเป็นต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เมื่อไหร่ ?
      ตามกฎหมายระบุไว้ว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่กิจการมียอดขาย หรือบริการเกิน 1.8 ล้านบาท ต่อปี ก็ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มครับ แต่ถ้ารายได้ยังไม่ถึง แต่ต้องการจะจด ก็สามารถทำได้ครับ แต่เมื่อเข้าสู่ระบบแล้ว จะต้องยื่นแบบภ.พ.30 ทุกเดือน และจะต้องทำรายงานสินค้าคงเหลือด้วยนะครับ (อันนี้แหละครับ เป็นหนึ่งในจุดตัดสินใจ ว่าเราจะเลือกใช้บริการจากสำนักงานบัญชี หรือไม่)
    • เราจำเป็นต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม เมื่อไหร่ ?
      ตามกฎหมายระบุไว้นะครับ ว่าหากมีการประกอบธุรกิจ แล้วมีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ก็ต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคม ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างรายชั่วโมง รายวัน หรือรายเดือน เว้นแต่บุคคลหรือกิจการที่ไม่ได้ใช้บังคับตามกฎหมายประกันสังคม
    • จดทะเบียนในรูปแบบไหนดี แบบไหนประหยัดภาษีกว่ากัน ?
      เรื่องนี้ต้องคุยกันยาว ขอต่อให้ในภาค 2 นะครับ อย่าเพิ่งเบื่อกันนะครับ
    จะเริ่มประกอบธุรกิจ จดทะเบียนรูปแบบไหนดี สิ่งที่ควรรู้ก่อนจดทะเบียน (ภาค 2)

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 
    081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com

    วันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2560

    ขายสินค้า ? หรือค่าจ้างทำของ ?

    รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    "ถามมา...ตอบไป"
     
    เรื่องราวในวันนี้ ได้มาจากประสบการณ์ของลูกค้าของทางสำนักงานบัญชีของพี่บัญชี เป็นประเด็นที่

    ลูกค้า ค่อนข้างสงสัย และสอมถามเข้ามา

    เรื่องมีอยู่ว่า....บริษัทเป็นโรงงานที่ผลิตกล่องมาตรฐาน เพื่อจำหน่ายให้แก่ลูกค้าทั่วไป ได้ถูกว่าจ้างให้ผลิตสินค้า ตามแบบพิเศษที่ลูกค้าต้องการ โดยวัตถุดิบที่ใช้ผลิต เป็นของบริษัทฯ แต่เวลาที่ออกใบกำกับภาษี บริษัทฯ จะแยกรายการค่ากล่อง กับค่าแม่พิมพ์ อยู่ในใบกำกับภาษีเดียวกัน ซึ่งทางบริษัทฯ ได้บอกลูกค้าไปว่า ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายบริษัทฯ แบบที่พี่บัญชีได้เคยแนะนำ ทำไมลูกค้า บอกว่าไม่ได้ ต้องหัก ณ ทีจ่ายกับทางบริษัทฯ เพราะถือว่าเป็นการจ้างทำของ แล้วบริษัทฯ กำลังทำผิดหรือเปล่า ?
     
    พี่บัญชี รบกวนแนะนำให้ด้วยนะจ๊ะ
     
    พี่บัญชี ก็ยิ้ม แล้วตอบลูกค้าของพี่บัญชีไปว่า
     
    ประเด็นนี้มองกันง่าย ๆ แบบนี้ครับ
    1. เราได้จดทะเบียน และแจ้งไปยังสรรพากร ตอนที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม วัตถุประสงค์ของเราเป็นผลิตกล่อง เพื่อจำหน่ายให้กับลูกค้า หรือไม่ ?
    2. วัตถุดิบ ที่ใช้ในการผลิต บริษัท เป็นผู้จัดหามาเอง หรือไม่ ?
    3. กล่องที่เรารับคำสั่งผลิต หากไม่มีคำสั่งพิเศษ จากลูกค้า เป็นสินค้ามาตรฐาน ที่เราผลิตเพื่อจำหน่ายในกับลูกค้าทั่วไป หรือไม่ ?
    4. สินค้าที่เรารับคำสั่งผลิต เป็นสินค้าที่เรามุ่งหวังในการโอนกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้า หรือไม่ ?
    เมื่อวิเคราะห์ ประเด็นง่าย ๆ ทั้ง 4 ข้อแล้วพบว่า ทางคุณผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ เพื่อจำหน่ายให้กับลูกค้าทั่วไปอยู่แล้ว ถึงเค้าจะไม่จ้างคุณทำ คุณก็ยังคงผลิตกล่องบรรจุภันฑ์ เพื่อขายให้กับลูกค้าทั่วไป วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตก็เป็นของบริษัทฯ เพราะฉะนั้น การรับผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน ตามคำสั่งพิเศษของลูกค้า เพื่อให้ได้รูปแบบสินค้าตามที่ลูกค้าต้องการ โดยในใบกำกับภาษี จะแยกรายการ "ค่าสินค้า" กับ "ค่าแม่พิมพ์" อยู่ในใบกำกับภาษีเดียวกัน แต่ผลสุดท้าย สินค้าก็ยังคงเป็นกล่องบรรจุภัณฑ์ เพราะฉะนั้นสินค้าเราก็ขาย แม่พิมพ์ที่เราทำมาจะไปใช้ในงานอย่างอื่นก็คงไม่ได้ ก็ต้องขายให้ลูกค้าไปอยู่ดี มันจึงมองว่าเป็นการขายสินค้า ไม่ใช่การจ้างทำของ
     
    เพราะฉะนั้น เมื่อตีความว่าเป็นการขายสินค้า จึงไม่ต้องหัก ภาษี ณ ที่จ่าย นะครับ

    พี่บัญชีใจดี แถมให้อีกนิด จริง ๆ แล้วการวางแผนภาษีหัก ณ ที่จ่าย ก็เป็นการวางแผนเพื่อประหยัดภาษีอย่างหนึ่งนะครับ เพราะสุดท้ายถ้าเรามีภาษีถูกหัก ณ ที่จ่ายไว้ มากเกินกว่าภาษีที่ต้องจ่ายจริง การจะไปขอคืนภาษีส่วนนี้กับสรรพากร ก็อาจจะทำให้พี่สรรพากรเสียเวลา หรือทางเราเองก็อาจจะเสียเวลา เพราะฉะนั้นการวางแผนเรื่องภาษี หัก ณ ที่จ่าย ก็จะช่วยทำให้เราประหยัดเงินค่าภาษี ด้วยวิธีการที่ถูกต้อง ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดทั้งเวลาครับ

    ขอขอบคุณ คุณลูกค้าที่ไว้วางใจ ให้ทางสำนักงานบัญชี แก้ไขปัญหา

    ข้อมูลอ้างอิง : 
    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     
    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315

    Email    : jtac24569@gmail.com

    วันพฤหัสบดีที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557

    หน้าที่ของผู้ประกอบการ หลังจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ( บริษัทจำกัด, ห้างหุ้นส่วนจำกัด และห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล )

    จากประสบการณ์ที่ทำงานระยะนึง พบว่า มีผู้ประกอบการใหม่หลาย ๆ ราย ที่ไม่นำส่งงบการเงิน เนื่องจากมีความเข้าใจผิดว่า ยังไม่ได้มีการประกอบกิจการ หรือยังไม่ได้ดำเนินการใด ๆ ทำไมต้องนำส่งงบการเงิน และถือว่าค่าใช้จ่ายในการปิดงบการเงิน เป็นค่าใช้จ่ายสิ้นเปลือง

    ผมจึงเห็นว่า สิ่งที่ผู้ประกอบการควรจะรู้ คือ หน้าที่หลังจากจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็นบริษัทจำกัด, ห้างหุ้นส่วนจำกัด และ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล

    หน้าที่หลัก ๆ ของผู้ประกอบการหลังจากที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล มีดังนี้
    1. ต้องปิดงบการเงินภายในรอบบัญชี ( รอบบัญชีต้องดูในข้อบังคับ ( ถ้ามี ) หรือถ้าไม่มีข้อบังคับต้องดูรายงานการประชุมจัดตั้งบริษัท )
    2. รอบบัญชี 1 รอบ คือ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ( ภาษานักบัญชี เรียกว่ารอบปกติ ) ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่กับข้อบังคับ ( ถ้ามี ) หรือถ้าไม่มีข้อบังคับ ต้องดูรายงานการประชุม
    3. รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />
    4. หากขึ้นทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องนำส่งแบบภ.พ. 30 ทุกเดือน นับจากเดือนที่ได้มีการขึ้นทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
    แล้วถ้าไม่ปิดงบการเงินมีความผิด หรือโดนปรับอย่างไร
    1. ค่าปรับไม่ประกาศหนังสือพิมพ์ในเวลาที่กำหนด ( เฉพาะบริษัทจำกัด )  จ่ายให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
    2. และค่าปรับส่งงบล่าช้า จ่ายให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
    3. ค่าปรับแบบไม่นำส่งภ.พ. 30 จ่ายให้กรมสรรพากร
    Link อ้างอิง ค่าปรับแบบ ไม่นำส่งภ.พ. 30
    http://jtaccount.blogspot.com/2013/10/blog-post.html
     
    เห็นไหมครับ ว่าถึงแม้คุณจะยังไม่มีการดำเนินการใด ๆ ในบริษัทของคุณ คุณก็มีหน้าที่ ที่จะต้องดำเนินการต่าง ๆ เหล่านี้ให้ครบถ้วน ไม่งั้นจะทำให้เกิดค่าใช้จ่ายบานปลายในภายหลังได้

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com
     

    วันพุธที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2556

    อัตราค่าปรับในการยื่นแบบภาษี

    ภาษีมูลค่าเพิ่ม ( ภ.พ.30 )
    1. ค่าปรับอาญา ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น
      - ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน     300  บาท
      - ยื่นแบบเกิน 7 วัน        500  บาท
    2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ( เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน )
    3. เบี้ยปรับ
    เบี้ยปรับ กรณีไม่เคยยื่นหรือยื่นเกินกำหนดเวลา กรณียื่นเพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา
    ยื่นแบบไม่เกิน 15 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า x 2% ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า x 2%
    ยื่นแบบไม่เกิน 30 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า x 5% ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า x 5%
    ยื่นแบบไม่เกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า x 10% ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า x 10%
    ยื่นเกิน 60 วัน ขึ้นไป ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า x 20% ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า x 20%



    รับทำบัญชี,สำนักงานบัญชี,รับตรวจสอบบัญชี,บริษัทตรวจสอบบัญชี,บริษัทรับทำบัญชี,จัดตั้งบริษัท,รับตรวจสอบภาษี,รับเคลียร์ปัญหาสรรพากร,<br /> ตรวจสอบบัญชี,ผู้ตรวจสอบบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท,รับตรวจสุขภาพกิจการ,วางแผนภาษี,รับวางระบบบัญชี,การจัดตั้งบริษัท,ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต,<br /> วางระบบบัญชี,วางแผนภาษีอากร,จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท,บริการรับจัดทำบัญชี,ชำระบัญชี,จดทะเบียนเลิกบริษัท,รับทำบัญชี กรุงเทพ,รับทำบัญชี กทม.,รับทำบัญชี สมุทรปราการ,รับทำบัญชี ราษฎร์บูรณะ,รับทำบัญชี ทุ่งครุ<br /> รับทำบัญชี บางปะกอก,รับทำบัญชี ดาวคะนอง,รับทำบัญชี พระสมุทรเจดีย์,รับทำบัญชี พระประแดง,รับทำบัญชี ประชาอุทิศ,รับทำบัญชี สุขสวัสดิ์,รับทำบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,รับทำบัญชี สีลม,รับทำบัญชี จอมทอง,รับทำบัญชี ลาดพร้าว,รับทำบัญชี บางกะปิ,รับทำบัญชี รามคำแหง,รับทำบัญชี มีนบุรี,รับทำบัญชี รามอินทรา,<br /> รับทำบัญชี ร่มเกล้า,รับทำบัญชี ลาดกระบัง,รับทำบัญชี อ่อนนุช,รับทำบัญชี ติวานนท์,รับทำบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,รับทำบัญชี พระราม 9,รับทำบัญชี รัชดาภิเษก,รับทำบัญชี ดินแดง,รับทำบัญชี ปิ่นเกล้า,รับทำบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,รับทำบัญชี สุขุมวิท,รับทำบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,รับทำบัญชี ตากสิน,รับทำบัญชี บรรทัดทอง,<br /> รับทำบัญชี บางนา-ตราด,รับทำบัญชี ลาซาล,รับทำบัญชี พหลโยธิน,รับทำบัญชี ศรีนครินทร์,รับทำบัญชี วิทยุ,รับทำบัญชี วัชรพล,รับทำบัญชี สายไหม,รับทำบัญชี วิภาวดีรังสิต,รับทำบัญชี วงแหวน,รับทำบัญชี สุรวงศ์,รับทำบัญชี งามวงศ์วาน,รับทำบัญชี นวมินทร์,รับทำบัญชี บางบอน,รับทำบัญชี จรัลสนิทวงศ์,รับทำบัญชี ท่าพระ,รับทำบัญชี บางแค<br /> รับทำบัญชี บางขุนเทียน,รับทำบัญชี เพชรเกษม,รับทำบัญชี สำโรง,รับทำบัญชี อ้อมน้อย,รับทำบัญชี เจริญนคร,รับทำบัญชี บางรัก,รับทำบัญชี ราชเทวี,รับทำบัญชี คลองสาน,รับทำบัญชี เจริญกรุง,รับทำบัญชี พระราม 3,รับทำบัญชี ปากเกร็ด,รับทำบัญชี พัฒนาการ<br />สำนักงานบัญชี กรุงเทพ,สำนักงานบัญชี กทม.,สำนักงานบัญชี สมุทรปราการ,สำนักงานบัญชี ราษฎร์บูรณะ,สำนักงานบัญชี ทุ่งครุ<br /> สำนักงานบัญชี บางปะกอก,สำนักงานบัญชี ดาวคะนอง,สำนักงานบัญชี พระสมุทรเจดีย์,สำนักงานบัญชี พระประแดง,สำนักงานบัญชี ประชาอุทิศ,สำนักงานบัญชี สุขสวัสดิ์,สำนักงานบัญชี พระราม 2,รับทำบัญชี หนอกจอก,สำนักงานบัญชี สีลม,สำนักงานบัญชี จอมทอง,สำนักงานบัญชี ลาดพร้าว,สำนักงานบัญชี บางกะปิ,สำนักงานบัญชี รามคำแหง,สำนักงานบัญชี มีนบุรี,สำนักงานบัญชี รามอินทรา,<br /> สำนักงานบัญชี ร่มเกล้า,สำนักงานบัญชี ลาดกระบัง,สำนักงานบัญชี อ่อนนุช,สำนักงานบัญชี ติวานนท์,สำนักงานบัญชี รังสิตรัตนาธิเบศร์,สำนักงานบัญชี พระราม 9,สำนักงานบัญชี รัชดาภิเษก,สำนักงานบัญชี ดินแดง,สำนักงานบัญชี ปิ่นเกล้า,สำนักงานบัญชี ประดิษฐ์มนูธรรม,สำนักงานบัญชี สุขุมวิท,สำนักงานบัญชี เพชรบุรีตัดใหม่,สำนักงานบัญชี ตากสิน,สำนักงานบัญชี บรรทัดทอง,<br /> สำนักงานบัญชี บางนา-ตราด,สำนักงานบัญชี ลาซาล,สำนักงานบัญชี พหลโยธิน,สำนักงานบัญชี ศรีนครินทร์,สำนักงานบัญชี วิทยุ,สำนักงานบัญชี วัชรพล,สำนักงานบัญชี สายไหม,สำนักงานบัญชี วิภาวดีรังสิต,สำนักงานบัญชี วงแหวน,สำนักงานบัญชี สุรวงศ์,สำนักงานบัญชี งามวงศ์วาน,สำนักงานบัญชี นวมินทร์,สำนักงานบัญชี บางบอน,สำนักงานบัญชี จรัลสนิทวงศ์,สำนักงานบัญชี ท่าพระ,สำนักงานบัญชี บางแค<br /> สำนักงานบัญชี บางขุนเทียน,สำนักงานบัญชี เพชรเกษม,สำนักงานบัญชี สำโรง,สำนักงานบัญชี อ้อมน้อย,สำนักงานบัญชี เจริญนคร,สำนักงานบัญชี บางรัก,สำนักงานบัญชี ราชเทวี,สำนักงานบัญชี คลองสาน,สำนักงานบัญชี เจริญกรุง,สำนักงานบัญชี พระราม 3,สำนักงานบัญชี ปากเกร็ด,สำนักงานบัญชีพัฒนาการ<br />



    ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ( ภ.ง.ด.1, 3, 53 )
    1. ค่าปรับอาญา ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น
      - ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน     100  บาท
      - ยื่นแบบเกิน 7 วัน        200  บาท
    2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน ( เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน )

    เงินสมทบกองทุนประกันสังคม
    1. เบี้ยปรับ ชำระในอัตรา 2% ต่อเดือน

    รับทำบัญชี ตรวจสอบบัญชี จดทะเบียนบริษัท
    สนใจปรึกษาฟรี ก่อนตัดสินใจ
     

    ติดต่อ คุณทศพร
    Tel.       : 02-408-4215
    Hotline : 081-616-1315
    Email    : jtac24569@gmail.com